Koh Tao en Thaïlande par KohTaoZone le 1er Guide en français sur Koh Tao, plongée, actualités, infos et guide pratiques sur l'île, hotel, comparateur de prix, et plus encore...

Restez informé | | | |
Vous êtes ici : Koh Tao > Actus & Météo > Actus & MétéoActualités sur Koh Tao > Lire une actualité

De la légende de Bardia à l'histoire de Koh Tao

Posté le 12 août 2011 à 20:31 (vu 7155 fois)

Un de ces soirs où l'on a rien à faire, je me suis interessé à l'article Wikipedia sur Koh Tao en version anglaise consultable ici :
http://en.wikipedia.org/wiki/Ko_Tao

Et je me suis attardé sur le paragraphe suivant :

"It would appear from old maps (1600-1850) and descriptions that this island was known by European cartographers and mariners as "Pulo Bardia". The best example is a map by John Thornton dated 1685. Page 383 of 'The Edinburgh Gazetteer, or Geographical Dictionary' (1822) also mentions the island and provides a geographical position. In his book titled "Narrative of a residence at the capital of the Kingdom of Siam" by Frederick Arthur Neale (1852 p. 120) he describes the people and wildlife of Bardia. According to the account there were farms and even cows in a village on the bay lying to the west side of the island - (probably Sairee?). The book includes a fanciful illustration of 'Bardia' showing huts and palm trees. "

On nous dit donc que Koh Tao s'appelait avant Pulo Bardia et qu'on en retrouve des traces dans des anciens documents.
C'est ce qu'on va voir ! ou pas...

Curieux que je suis, je me suis lancé à la recherche des sources. On vit une époque formidable, non seulement les sources (livres et cartes) sont consultable gratuitement en ligne mais en plus, histoire oblige, une partie des documents est hébergé en France (cocorico), chez Gallica (BNF).

Voici les liens vers les sources :

  • Carte du golf de Siam par John Thornton édité en 1701 (en non 1685??).
    Vous verez des options pour zommer. Sur cette carte on voit effectivement 3 iles :
    Bardia qui serait Koh Tao, Pulo Sacoria, qui serait Koh Phangan, et Pulo Cornom qui serait Koh Samui.
    Chose troublante : Bardia semble bien proche du continent alors que dans la pratique, Koh Tao est très éloigne de la côte. Je ne suis pas expert en cartographie marine et peut être que c'est le changement de repère qui donne cette impression...
  • The Edinburgh Gazetteer, or Geographical Dictionary.
    On y voit l'info suivante : "small isl. in the gulf of Siam. Lon. 99. 40. E. Lat. 10. 48. N."
    Chose troublante : lorsque l'on regarde l'emplacement des coordonnées Lon. 99. 40. E. Lat. 10. 48. N (voir carte Google Map) on arrive à 64 km au large de Koh Tao, près de la côte de Chumphon.

  • Narrative of a residence at the capital of the Kingdom of Siam
    Page 120 de ce document, on trouve effectivement une illustrion de Pulo Bardia (ci-dessous), ainsi que le texte suivant :

    "On the west side of Pulo Bardia, and just opposite to the town of Champon, is situated a large and thriving village, the inhabi- tants of which we found to be a civil, obliging, and industrious people. Their farm-yards were well stocked with pigs, poultry, goats, and even a few cows. We never wanted for fresh eggs, or milk, or butter during our stay. The men were better-looking than the general run of Malays, and some of the women and girls were really remarkably handsome, possessing not the slightest cast of a Malay profile, and with figures that were most unex- ceptionable[...]"

    Chose troublante : on nous parle d'un village sur la côte ouest de Pulo Bardia qui serait situé en face de la ville de Champon. D'après vous, lorsque l'on est à Sairee Beach, a t'on envie de dire qu'on est en face de Chumphon ? Non seulement on ne voit pas Chumphon (Champon), mais en plus on ne voit même pas le continent.
    Etrange non ?

J'ai poussé un peu les recherche et j'ai trouvé d'autres documents comme celui-ci :
Annales maritimes et coloniales où on nous dit que Pulo Bardia est encore "très-rapprochée de la terre".

J'ai trouvé une autre carte du golfe de Siam plus recente (18ème siècle) où l'on voit encore apparaitre Pulo Bardia, toujours très rapproché de la terre, presque à toucher Bardia, qui est l'autre nom de Chumphon à l'époque.

Revenons sur les coordonnées géographique de Pulo Bardia données ici : The Edinburgh Gazetteer, or Geographical Dictionary .
Je me suis dis que peut être à l'époque les techniques de localisation n'était pas précis (une erreur de 64 km quand même..).

Pourtant dans le même document, on nous donne aussi les coordonnées géographie de Bardia (ancien nom de Chumphon) Lon. 99.30 E. Lat. 10.52 N. (voir carte Google Map). On arrive bien là à Chumphon, mais avec une erreur de 4/5 km si on veut attendre la côte. Leur technique de localisation n'est donc à priori pas si mauvaise.

Autre essai avec Koh Samui, avant appelé Pulo Cornom. On trouve les coordonnées aussi dans un document d'époque : A geographical dictionary or universal gazetteer . Lon 100.13 E. Lat 9.52. N (voir carte Google Map). Item, on arrive bien à Koh Samui avec une erreur de 4/5 km.

Alors...

Koh Tao alias Palu Bardia aurait-elle brusquement dérivé au cours des siècles ?
Pulo Bardia ne serait-elle tout simplement pas Koh Tao ?
Si Pulo Bardia n'est pas Koh Tao, où est Pulo Bardia ?
Y a-t-il plusieurs Pulo Bardia ?

A vous de juger.

De l'origine des noms...

Une histoire raconte bien que Koh Tao s'appelait Bardia avant. Ecrit บาร์เดีย en thaïlandais.
Les chinois qui arrivèrent par la suite arrivaient mal à prononcer บาร์เดีย ("Bardia") .
Ils prononçaient "Kubia" plutôt que "Bardia".
Kubia en Chinois veut dire tortue. Tao en thaïlandais, veut dire tortue.
L'île de Bardia, alias l'île de Kubia, s'appelerait donc Koh Tao.

On se demande pourquoi on n'y avait pas pensé avant :)

 

A lire aussi...
Arrête de louper les bons plans Suis-nous (Puisqu'on te le dit)
Vos Commentaires
Charly
Membre Modérateur

(Voir le profil)
Utilisateur validé
Messages postés : 2980
Editeur :
Articles publiés : 779
Inscrit le : 10/10/2010
Le 30 avril 2012 16:34 Charly à dit :

Suite à cet article, un internaute nous a demandé où nous avions trouvé ces informations sur "Kubia".


Malheureusement, nos sources d'informations sont écritent en thaïlandais. Dans le texte, on trouve d'écrit กู่เบี๋ย pour Kubia.


Pour ceux qui savent lire la langue ou pourront se la faire traduit, voici le texte ci-dessous. Et si vous avez une autre lecture que nous de ce texte, n'hésitez pas à nous le faire savoir.



เที่ยวหมู่เกาะสุราษฎร์ธานี




Koh Tao เกาะเต่า ได้สมญานามว่าเป็นดินแดนแห่งโลกใต้น้ำแสนมหัศจรรย์กลางทะเลอ่าวไทย และมีแนวปะการังที่สวยที่สุดของเอเซีย
Koh Nang Yuan เกาะนางยวน เกาะที่มีวิวสวย 1 ใน 10 ของโลกและมีแนวปะการังน้ำตื่นที่สวยที่สุด ในทะเลอ่าวไทย กับ บรรยากาศส่วนตัวในวันที่พักผ่อน
Koh Samui เกาะสมุย เกาะใหญ่และโด่งดังที่สุดในทะเลอ่าวไทย สัมผัสหาดเฉวง หาดละไม่ หาดทรายที่คลาคล่ำไปด้วยนักท่องเที่ยว และซื้อของบฝากจากชาวเกาะสมุย
Koh Phangan เกาะพงัน ทัศนียภาพของหาดริ้นที่นักท่องเทียวซีกโลกของตะวันตกต่างหลงเสน่ห์มากกว่า 20 ปี สัมผัสร่องรอยการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ที่ชาวเกาะพงันมีความภูมิใจเป็นที่สุด กับ " อุทยานแห่งชาติธารเสด็จ "
Moo Koh Angthong National Park สัมผัสทัศนียภาพทางทะเลสีเขียวมรกต และเล่นน้ำชมปะการังที่ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง




ประวัติย่อ
เกาะสมุย เกาะพงัน เป็นเกาะที่มีแหล่งชุมชนมนุษย์แบบถาวรซึ่งยั่งยืนต่อเนื่องมาตราบปัจจุบันตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย จึงมีวัฒนธรรม วิถีชีวิตและสำเนียงภาษาอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตนแม้จะอยู่ใกล้เคียงกัน เสมือนเกาะพี่เกาะน้องที่คอยปลุกปลอบประโลมซึ่งกันและกันในยามทดท้อว้าเหว่เหงาหงอย และร่วมรื่นเริงบันเทิงฉลองคราวสุขเกษมสันต์หรรษา แต่ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์เกาะสมุยขึ้นกับเมืองนครศรีธรรมราช เกาะพงันขึ้นกับเมืองไชยา กระทั่งรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงรวมเข้าเป็นอำเภอเดียวกัน เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2440 ใช้ชื่อว่า อำเภอเกาะสมุย สังกัดเมื่องกาญจนดิษฐ์ แล้วต่อมาได้ยุบรวมปรับเปลี่ยนพัฒนาเป็นจังหวัดสุราษฎร์ธานีเกาะสมุย เกาะพงัน รวมเป็นอำเภอเดียวกันอยู่ประมาณ 63 ปี แล้วได้แยกพื้นที่เกาะพงันออกเป็นกิ่งอำเภอ เมื่อ พ.ศ. 2513 และยกซานะเป็นอำเภอเมื่อ พ.ศ. 2520 เกาะเต่า อดีตทัณฑสถานสำหรับนักโทษการเมืองที่ส่วนใหญ่ต้องคดีกบฎบวรเดช มีสถานะเป็นตำบลของอำเภอพงัน เริ่มเป็นแหล่งชุมชนถาวรของนักบุกเบิกจากเกาะสมุย เกาะพงันภายหลังจากสภาวะทัณฑสถานแล้วไม่นาน เมื่อประมาณปลายทศวรรษ 2480 เกาะสมุย เกาะพงัน เกาะเต่า จัดเป็นชุมชนสำคัญในหมู่เกาะสุราษฎร์ธานี ที่นอกจากหลากหลายด้วยความงามเลิศวิจิตรตระการอันธรรมขาติรังสรรค์แล้ว ยังมีวิถีชีวิต วัฒนธรรมของชาวหมู่เกาะทะเลทางใต้อันทรงเสน่ห์น่าสัมผัสและร่วมดำเนินอีกด้วย

ที่มาของชื่อ
เกาะเต่า กล่าวกันว่า เมื่อมองแต่ไกลจากเกาะพงัน จะเห็นรูปร่าง เกาะเต่าเหมือนเต่า จึงเรียกขานว่า "เกาะเต่า" และที่สอดคล้องต้องจริงกับมูลเหตุที่เกิดนามเรียก เกาะเต่า คือการที่เกาะเต่าในยุคโบราณเต็มไป
ด้วยเต่า ดังปรากฎอยู่ในชื่อภาษาตะวันตกว่า บาร์เดีย ซึ่งฝรั่งฟังเพี้ยนมาจากคำว่า กู่เบี๋ย ในภาษาไหหลำที่แปลว่า เต่า




เกาะนางยวน มีตำนาน 2 ตำนานกล่าวกันว่า ช่องลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ลมว่าว) พัดมาจาก
ทะเลจีนใต้ พัดผ่านแหลมญวนมายังอ่าวไทย ชาวประมงได้เจอศพเพศหญิงสาวที่คลื่นลมพัดมาติดอยู่ที่เกาะนางยวน ต่างก็ไม่มีใครรู้ว่าเป็นใคร มาจากไหน ชาวบ้านต่างสันนิษฐานว่าอาจจะเป็นหญิงชาวเวียดนามหรือสาวญาณที่คลื่นลมพัดพามา ต่อมาชาวบ้านจึงเรียกเกาะแห่งนี้ว่า " เกาะนางญวน" และอีกตำนานเล่าว่า ชาวเรือประมงเล็กต่างๆ ได้มาพักหลบลมกันที่นี้ เมื่อมองไปที่เกาะเล็กของเกาะนางยวนซึ่งมีรูปทรงเหมือนซานนมสาวจึงเรียกขานสถานที่นัดหมายแงนี้ว่า "เกาะนม" และต่อเติมกันมาจนเรียกว่า "เกาะนมญวน" เมื่อกาลเวลาผ่านมาจึงกลายเป็น "เกาะนางญวน" ต่อมาคุณสุนทร จันทรัมพร ซึ่งเป็นผู้เข้ามาครอบครองดูแลเกาะแห่งนี้ ได้เปลี่ยนใหม่เพื่อให้เหมาะสมกัยความเสน่ห์ของเกาะและเป็นชื่อเรียกที่เป็นมงคลนามว่า เกาะนางยวน




เกาะพงัน อ่าวในเกาะพงันโดยส่วนมากเป็นเป็นอ่าวที่มีสันดินทรายละเอียด ซึ่งจะโผล่พ้น
น้ำทะเลลดลง ภาษาถิ่นเรียก "งัน" หรือ "หลังงัน" นับเป็นเอกลักษณ์ เป็นลักษณะสำคัญของ เกาะพงัน
เชื่อกันว่า ชื่อดังเดิมของเกาะมีเพียงพยางค์เดียว คือ เกาะงัน ภายหลังเมื่อชื่อเกาะต้องสัมพันธ์กับ ภาษากลางจึงได้มีการเพิ่มคำว่า พะ เข้ามาเป็น "พงัน" เพื่อให้สะดวกลิ้นแกการออกเสียงในสำเนียงภาคกลางอารมณ์พงศ์พงัน เป็นผู้หนึ่งที่เชื่อว่า ชื่อเกาะพงันมาจากหลังงัน สันดินทรายละเอียดในน้ำ ซึ่งได้เสนอไว้ในหนังสือเรื่องบ้านเกิด และความเชื่อนี้เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปของวิญญูชนชาวเกาะพงันตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2520 เมื่อเกาะพงัน เปลี่ยนสถานภาพเป็นอำเภอ ได้มีการประวิสรรชนีย์ที่ตัว พ. (พะ) กำหนดการเขียนใหม่เป็นเกาะพะงัน เท่ากับเป็นการทำลายอักขรวิธีดั้งเดิมที่ถือปฏิบัติกันมานับศตวรรษเปลี่ยนการเน้นเสียงของคำ ที่เดิมออกเสียง พะ เพียงกึงเสียง เป็นออกเสียง พะ เต็มเสียง




เกาะสมุย ในเกาะสมุยมีต้นไม่ชนิดหนึ่งซึ่งมีชื่อเรียกว่าต้นหมุย ขึ้น อยู่ดกดื่นเป็นอันมากคนโบราณจึงเรียกชื่อเกาะตามพันธุ์ไม้ว่า เกาะหมุย แล้วหลายเป็นเกาะสมุย ในเวลาต่อมาความสงสัยเรื่องต้นหมุยค้างคาในยู่นาน จนเมื่อปี 2540 ผู้เขียนได้คำตอบจากยายเนือมผู้อาวุโส มีอายุ 90 ปี กว่าที่คร่ำหวอดอยู่กับป่าเขาในละแวกเกาะสมุยมาช้านานว่า "ยายไม่รู้จัก ไม่เคยได้ยินมาก่อนเลย" จึงคิด เห็นว่า ประเด็นเรื่องต้นหมุย เป็นข้อสันนิษฐานทำนองโยงคำไปหาความ นายเชื้อ มีเพียร เคยเล่าว่า นานมาแล้วนายอำเภอเกาะสมุยท่านหนึ่งเป็นบุคคลแรกที่เผยแพร่ความเชื่อที่ว่า พวกแขกเป็นพวกแรกที่ตั้งถิ่นฐานในเกาะสมุย เกาะพงัน โดยมักโยงคำเรียกชื่นสถานที่ต่างๆ ในเกาะพงัน เกาะสมุย เข้าไปหาภาษาอินเดียหรือแขก เช่นว่า เกาะสมุย มาจากคำว่า สมอย ในกาษาโจฬะหรือทมิฬ แปลว่า เกาะแห่งคลื่นลม ส่วน เกาะพงันมากจากคำแขกว่า ราฮัน แปลว่า เงาตะคุ่ม ซึ่งภายหลัง ผู้รู้ท่านหนึ่งให้ข้อความ รู้ว่า ราฮัน เป็นภาษามลายู มิใช่โจฬะ-ทมิฬ แปลว่า สันดินทราย



ในภาษาจีน นายตั้นซ่วนติ๋ม ชาวจีนเกาะไหหลำ เข้ามาเมืองไทยเมื่อ พ.ศ. 2476 เล่าว่าก่อนเข้ามาประเทศไทย ได้ยินชื่อเกาะมาก่อน ชาวไหหลำเรียก เกาะสมุย เกาะพงันว่า เกาะสมุย คือ เช่าป่วย หรือ เช่าบ๋วย หรือชั่วบ่วย แปลว่า เกาะใหญ่แล้วภายหลังเพี้ยนเป็น "สมุย" เกาะพงัน คือ เตี๋ยวบ่วย หรือ เตี๋ยวบ๋วย หรือโต้ยบ่วย แปลว่า เกาะเล็ก เกาะพงัน คำเรียกขานในภาษาจีนคงไม่ถูกปาก มิสะดวกลิ้นในการเรียกขาน กอปรด้วยลักษณะภูมิประเทศของกาะพงันด้านซึ่งเป็นที่ตั้งชุมชุนดังเดิมล้วนมากมีด้วยสันดินทราย หรือหลังงันภาษาถิ่นศรีวิชัยนามเกาะงันจึงติดตลาดและเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางมากกว่า ตราบสมัยปัจจุบัน เกาะเต่า มาจากคำว่า กู่เบี๋ย ในกาษาไหหลำที่แปลว่า "เต่า" ในเอกสารของชาวตะวันตก ปรากฏชื่อเกาะสมุย เกาะพงัน และเกาะเต่า



ในเอกสารของชาวตะวันตกในสมัยอยุธยา ใน พ.ศ. 2175 , พ.ศ.2228 ,พ.ศ. 2230 และ พ.ศ. 2287



เกาะสมุย คือ Pol. Cori Pulo Sangori และ P. Sancroy
เกาะพงัน คือ Pol.Cornon Pulo Cornom P. Cormon และ Timon
เกาะเต่า คือ P. Bardia

การที่ฝรั่งสมัยอยุธยาเมือสามร้อยปีก่อนเรียกว่า เกาะเต่า ว่า บาร์ดีหรือบาร์เดีย เป็นการเรียกตามภาษาจีนสำเนียงไหหลำ ว่า กู่เบี๋ย เท่ากับแสดงว่าชาวไหหลำผู้มีวิญญาณแห่งนักบุกเบิกในสายเลือด ได้เข้ามาข้องเกี่ยวกับทะเลภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยนานหลายร้อยปีแล้ว และนามเกาะเต่าถูกเรียกขานตามคุณลักษณะที่มีเต่ายั้วเยี้ยเต็มไปหมดมานานหลายร้อยปีแล้วเช่นกัน

Ce message a reçu 1 réponses sur le forum. Voir les réponses sur le forum
 Ecrire un commentaire





Actuellement 80 visiteurs en ligne.

Derniers Points Météo

02 oct. Point météo sur Koh Samui au 2 octobre 2023...

L'essentiel


Rechercher sur KohTaoZone

Recherche personnalisée

Agenda / Evénement

Actualités
A la Une sur Koh Tao

25 févr. Budget approuvé pour un câble électrique sous-marin ...
15 juil. Koh Tao impose aux professionnels de traiter leurs eaux...
14 juil. Vers l'élimination des déchets et plus de sécurité...
09 juil. (2) Un hôpital officiel ouvre à Koh Tao...
23 mai Formation d'instructeur de plongée SSI à Koh Tao...
26 mars (2) Tao Festival 2017 : Un festival écologique...
28 mai (1) Koh Tao sur Google Street View...
21 févr. Jean Dujardin à Koh Tao pour Brice de Nice 3...
23 avril (1) Koh Tao : 5ème plus belle île au monde et 1ère d'Asi...
24 déc. (1) Une plongeuse meurt frappée par une hélice...

Dans le Forum

09 mai (45) Mariage avec une thaïlandaise
02 févr. Cours de voile
17 déc. Request information
09 juil. Ko tao en avion
22 août hotel
13 avril Baptême de plongée
27 mars Formation Padi IDC
30 sept. Stage de voile + 3 jours en mer et hébergement
15 sept. Nom en thaï
20 déc. Le problème des ordures résolu?
16 déc. Bonne nouvelle
12 juin koh tao retour à la normale !
08 juin Resto mexicain
21 avril gardiennage gratuit maison animaux par retraités français
09 févr. guide ecologique
15 mai (29) Tatouage : mon nom et prénom en Thaïlandais
05 juil. (1) Formation instructeur padi OWSI
09 janv. Tropicana - Deluxe ou Standard? proche route ou plage??
15 févr. (11) Sairee, vraiment bruyant et bondée en aout ?
08 janv. Logement sur Koh Tao en famille

» Aller dans le forum...